|
แนะนำอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เบื้อง เทคนิคต่าง ๆ เกี่ยวกับคอม การสร้างเว็บไซต์จากจูมล่า
ขอขอบคุณข้อมูลจาก arip
วันอาทิตย์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2553
Internet Protocol Version 6 (IPv6)
วันเสาร์ที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2553
วิธี ทำให้คอมเร็วๆๆ
สาเหตุที่ทำให้เครื่องคุณแฮง
สาเหตุที่ทำให้เครื่องคุณแฮง | ||||
|
Blue Screen จอมรณะ สาเหตุและแนวทางแก้ไข
Blue Screen จอมรณะ สาเหตุและแนวทางแก้ไข | ||||
|
วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2553
เครื่องไม้เครื่องมือสำหรับช่าง
- หัวแร้งไฟฟ้า
1.1 หัวแร้งแช่ เป็นหัวแร้งที่มีกำลังวัตต์ต่ำ ๆ สำหรับในงานอิเล็กทรอนิกส์ควรมีกำลังวัตต์ไม่เกิน 40 วัตต์ เวลาใช้ให้เสียบไฟแช่เอาไว้จนกว่าจะเลิกใช้งาน จะกินไฟฟ้าตลอดเวลา แต่กินน้อย โครงสร้างคล้ายกับเตาไฟฟ้าประกอบด้วยขดลวดความร้อนพันอยู่รอบกระบอกโลหะที่ นำความร้อนได้ดี ส่วนที่เป็นปลายหัวแร้งทำจากโลหะที่นำความร้อนได้ดีจะเสียบอยู่ในกระบอกโลหะ ตามหลักการ “ขดลวดความร้อนเมื่อได้รับความร้อนโมเลกุลจะขยายตัวจะทำให้ความต้านทานไฟฟ้า สูงขึ้น มีผลให้กระแสไฟฟ้าลดลง ทำให้ขดลวดเย็นลง ก็จะมีผลโมเลกุลโลหะหดตัว ค่าความต้านทานลดลง กระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นอีก มีผลให้ค่าความร้อนสม่ำเสมออัตโนมัติ ดังภาพที่ 2.1
ก. ภาพหัวแร้งแช่ ข. โครงสร้างหัวแร้งแช่
ค. ที่วางหัวแร้งแช่
ภาพที่ 2.1 แสดงภาพหัวแร้งแช่ โครงสร้างหัวแร้งแช่ และที่วางหัวแร้งแช่
- หัวแร้งปืน มีหน้าที่ให้ความร้อนในการบัดกรีเหมือนหัวแร้งแช่ แต่มีข้อแตกต่างกันในลักษณะการใช้งานโครงสร้างภายในก็เหมือนหม้อแปลงไฟฟ้า ใช้ง่ายสะดวกรวดเร็ว เวลาใช้กดไกรสวิตช์แช่เอาไว้ตามความต้องการความร้อน เวลาไม่ใช้ให้ปล่อยไกรสวิตซ์จะประหยัดพลังงานไฟฟ้า ปกติมีกำลังวัตต์ประมาณ 100 วัตต์ไม่ควรใช้บัดกรีงานเล็ก ๆ เพราะปลายหัวแร้งใหญ่และให้ความร้อนมากเกินไปอาจทำให้อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ และLineวงจรเสียหาย
(ก) ภาพหัวแร้งปืน (ข) โครงสร้างหัวแร้งปืน
ภาพที่ 2.2 แสดงภาพและโครงสร้างหัวแร้งปืน
- ที่ดูดตะกั่ว
ภาพที่ 2.3 แสดงที่ดูดตะกั่ว
ภาพที่ 2.4 สายชีลด์ดูดตะกั่ว
- ไขควง
ก) ไขควงแบน (ข) หัวสกรูแบน
ภาพที่ 2.5 แสดงไขควงปากแบน และหัวสกรูแบน
ภาพที่ 2.6 แสดงไขควงปากแฉก
ภาพที่ 2.7 แสดงไขควงบล็อกซ์ 6 เหลี่ยม
ภาพที่ 2.8 แสดงไขควงปากท็อกซ์
ภาพที่ 2.9 แสดงหัวสกรูแบบต่าง ๆ
ภาพที่ 2.10 แสดงไขควงชุดอย่างดี (ดอกดำ)
ภาพที่ 2.11 ไขควงชุดเล็ก
ภาพที่ 2.12 ไขควงพลาสติก จูนขดลวดเหนี่ยวนำ
เทคนิคการใช้ไขควง ปัญหาที่พบบ่อยๆได้แก่ ปากไขควง หัวสกรูว์ ชำรุดไม่สามารถขันเข้าออกได้ สาเหตุมาจากการใช้ไขควงไม่พอดีกับหัวสกรู และขาดเทคนิคการขัน เทคนิคการขันไขควงกับหัวสกรูมีดังนี้คือ- เลือกใช้ไขควงให้ชนิดและขนาดพอดีกับหัวสกรู
- จับไขควงให้แน่น ดันไขควงเข้ากับหัวสกรูพร้อมกับออกแรงบิด กระชากออก เช่นเดียวกับหลักการทำงานของไขควงตอกที่ช่างซ่อมมอเตอร์ไซค์ใช้
ภาพที่ 2.13 แสดงการใช้ไขควงถูกชนิดและพอดีกับหัวสกรู
- คีม (Pliers)
- คีมตัด (Cutting pliers) เป็นคีมที่ทำหน้าที่ใช้ตัดสายไฟฟ้า และถ้าฟันมีรูก็จะสามารถปลอกสายไฟฟ้าได้ ดังภาพที่ 2.14 (ก)
- คีมจับหรือคีมปากยาว (Long nose pliers) เป็นคีมที่ทำหน้าที่หนีบ จับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ชิ้นเล็กๆที่ไม่สามารถใช้มือจับได้ ดังภาพที่ 2.14 (ข)
( ก ) คีมตัด ( ข )คีมหนีบหรือคีมปากยาว
ภาพที่ 2.14 ภาพ (ก)แสดงภาพคีมตัด และภาพ(ข)แสดงภาพคีมหนีบหรือคีมปากยาว
- เลื่อยจิกซอว์
เลื่อยจิกซอว์ เป็นเลื่อยฉลุไฟฟ้าสามารถตัดไม้ เหล็ก หรือ วัสดุอื่นเป็นรูปต่าง ๆ เช่น รูปทรงกลม ตัวหนังสือ เป็นต้น
ภาพที่ 2.15 แสดงเลื่อยจิกซอว์
- หินเจียร์มือ
ภาพที่ 2.16 แสดงหินเจียร์มือ
ภาพที่ 2.17 เลื่อยจิกซอว์อเนกประสงค์
- สว่านไฟฟ้า
ภาพที่ 2.18 สว่านไฟฟ้าธรรมดาใช้ไฟฟ้า 220 Vac ใช้เจาะไม้เจาะเหล็ก แต่เจาะปูนไม่ได้
ภาพที่ 2.19 สว่านกระแทกเจาะปูนแบบธรรมดาต้องออกแรงกดมาก
ภาพที่ 2.20
สว่านไฟฟ้ากระแทกแบบโรตารี่เจาะปูนไม่ต้องออกแรงกดมากเหมือนสว่านกระแทกแบบธรรมดา
ภาพที่ 2.21 สว่านกระแทกแบบโรตารี่ไร้สาย ใช้แบตเตอรี่
ภาพที่ 2.22 สว่านไขควง ใช้ไขสกรู
ภาพที่ 2.23 สว่านไขควงไร้สายใช้แบตเตอรี่
บทสรุป
หัวแร้งไฟฟ้าเป็นเครื่องมือใช้กับงานบัดกรีที่นิยมใช้ในงานไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ มี 2 ชนิดคือ หัวแร้งปืนและหัวแร้งแช่ หัวแร้งปืนมีกำลังวัตต์ประมาณ 100 วัตต์ หัวแร้งแช่ มีกำลังวัตต์ไม่ เกิน 40 วัตต์ที่ดูด เป็นเครื่องมือใช้สำหรับดูดตะกั่วเพื่อเอาอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกจากแผ่น วงจร ถ้าไม่ใช้ที่ดูดตะกั่ว ก็สามารถใช้ สายชีลด์ดูดตะกั่วแทน
ไขควง เป็นเครื่องมือใช้สำหรับขันสกรูเข้าออก เทคนิคการขันให้ใช้ไขควงให้ถูกชนิดและพอดีกับหัวสกรู และจังหวะกดไขควงต้องออกแรงบิดไปพร้อมกัน
คีม เป็นเครื่องมือที่นิยมใช้ในงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มี 2 แบบได้แก่คีมตัด และคีมหนีบหรือคีมปากยาวใช้สำหรับตัดสายไฟฟ้า หรือตัดขาอุปกรณ์
เลื่อยจิกซอว์ หรือเลื่อยฉลุ ใช้เลื่อยตัดไม้หรือโลหะเป็นรูปร่างต่างๆตามใจชอบ
สว่านไฟฟ้า เป็นเครื่องมือ เจาะเหล็ก ไม้ พลาสติก หรือใช้ขันสกรู สว่านไร้สายเป็นสว่านที่ใช้แบตเตอรี่
รีเลย์ (Relay)
รีเลย์ (Relay)
รีเลย์เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับปิด – เปิด วงจรเช่นเดียวกับสวิตซ์ แต่การทำงานของรีเลย์ทำงานด้วยการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปในขดลวดของรีเล ย์ ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็กดูด ขั้วโลหะของรีเลย์ติดหรือขาดออกจากกัน ทำให้วงจรต่อกันหรือขาดออกจากกันเหมือนการปิดเปิดวงจรด้วยสวิตซ์
รีเลย์นิยมนำไปใช้งานในวงจรป้องกันวงจรตัดต่อไฟเข้าไป ในวงจร และช่องทางการสนทนาในตู้โทรศัพท์ใช้เป็นอิเล็กทรอนิกส์สวิตซ์ การเลือกใช้รีเลย์ต้องคำนึงถึงค่าที่สำคัญ 3 ประการ คือ
1. อัตราทนกำลังไฟของหน้าสัมผัส เป็นตัวบอกถึงขนาดของโหลดสูงสุดที่จะต่อให้กับรีเลย์ ตัวอย่างเช่น รีเลย์ตัวหนึ่งมีขนาดแรงดันไฟ 12 โวลต์ กระแส 3 แอมแปร์ นั่นคือ โหลดที่นำมาต่อต้องใช้กระแสไฟไม่เกิน 3 แอมแปร์ ถ้าแรงดันที่จ่ายให้แก่โหลด 220 โวลต์ โหลดที่นำมาต่อต้องมีขนาดไม่เกิน 600 วัตต์
2. ความต้านทานของขดลวดรีเลย์ เป็นตัวบอกถึงความต้องการกระแสของรีเลย์ขณะทำงาน
3. แรงดันที่กระตุ้นให้รีเลย์ทำงาน เป็นค่าแรงดันสูงสุดที่ต้องป้อนให้กับขดลวดของรีเลย์
ตัวอย่างเช่น รีเลย์ 12 โวลต์ 3 แอมแปร์ ต้องต่อแรงดันไฟให้รีเลย์ 12 โวลต์ และไม่ต่ำกว่า 10 โวลต์ ถ้าป้อนแรงดันให้กับรีเลย์น้อยจะทำให้ขดลวดของรีเลย์ร้อน อาจทำให้อายุการใช้งานของรีเลย์สั้นลง ทางที่ดีควรป้องกันแรงดันให้ตรงตามที่กำหนดได้
3. ฟิวส์ (Fuse)
ฟิวส์เป็นตัวนำไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ฟิวส์มีหน้าที่ตัดวงจรไฟฟ้า เมื่อมีกระแสไฟไหลเกินกำหนดเพื่อไม่ให้อุปกรณ์ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เสียหาย ฟิวส์ที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีรูปแบบและตัวถังหลายแบบฟิวส์นอกจากแบ่งตามตัวถังแล้วยังแบ่งตามคุณลักษณะ การใช้งานเป็น 2 ชนิด คือ
2.1 ฟิวส์ถ่วงเวลา ใช้ป้องกันกระแสไฟไหลอย่างรุนแรงขณะต่อสวิตซ์ ฟิวส์แบบนี้มีความไวต่อความร้อนมาก สามารถถ่วงเวลาได้ประมาณ 18 วินาที จากการปล่อยกระแสเริ่มแรกถึงกระแสไหลสูงสุด
2.2 ฟิวส์ทำงานอย่างรวดเร็ว ใช้ในวงจรที่มีกระแสไฟไหลปกติ ถ้ามีกระแสไฟไหลเกินค่าความสามารถในการทนกระแสไฟของฟิวส์ ฟิวส์ก็จะขาดหรือละลายทันภายในเวลา 1.4 วินาที
ภาพที่ 11 แสดงรูปฟิวส์และกระบอกฟิวส์
สัญลักษณ์ของฟิวส์
การเลือกฟิวส์ใช้งาน
การเลือกฟิวส์ใช้งานเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องคำนึงถึง โดยเลือกฟิวส์ใช้งานดังนี้
1. ความสามารถในการทนกระแสและแรงดันไฟฟ้าต้องใช้ฟิวส์ที่มีความสามารถทนกระแส และแรงดันไฟฟ้าพอดีกับวงจรไฟฟ้ากำหนด ถ้าหาค่าทนกระแสและแรงดันไฟฟ้าไม่ได้ อาจใช้ค่าที่เกินกว่าปกติเล็กน้อย เช่น มีค่าแรงดันไฟฟ้าในวงจร 125 โวลต์
ให้ใช้ฟิวส์ได้ไม่เกิน 150 โวลต์ สำหรับค่าทนกระแสไฟให้ใช้ได้สูงกว่ากระแสในวงจร 25 เปอร์เซ็นต์
2. การทนกระแสไฟลัดวงจรของฟิวส์ ตามปกติค่าทนกระแสไฟลัดวงจรของฟิวส์จะกำหนดเป็นพันเท่าของกระแสไฟปกติ บางครั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ลัดวงจร จึงควรเลือกความสามารถในการทนกระแสลัดวงจรของฟิวส์ด้วย
3. คุณสมบัติของฟิวส์ เช่น อุณหภูมิ รูปร่าง ขนาดที่ยึดตัวฟิวส์ กระบอกฟิวส์ ต้องเลือกให้เหมาะสม
การทดสอบฟิวส์
ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับวงจร ในกรณีที่มีการลัดวงจรเกิดขึ้นหรือมีกระแสไฟฟ้าไหลมาก เกินความสามารถของฟิวส์
การทดสอบฟิวส์เพื่อต้องการรู้ว่าขดลวดตัวนำที่อยู่ภายในโครงสร้างของฟิวส์ ขาดหรือไม่ ทดสอบได้ด้วยมัลติมิเตอร์ ดังนี้
1. เตรียมมัลติมิเตอร์ในตำแหน่งวัดค่าความต้านทาน R X 1
2. สายสีดำเสียบขั้วเสียบ – COM สายสีแดงเสียบขั้วเสียบ +
3. นำสายทั้งสองของมัลติมิเตอร์วัดคร่อมขั้วทั้งสองของฟิวส์
ภาพที่ 12 แสดงการทดสอบฟิวส์
4. สังเกตเข็มของมัลติมิเตอร์ ดังนี้
4.1 ถ้าเข็มของมัลติมิเตอร์กระดิกขึ้น แสดงว่าฟิวส์ดี
4.2 ถ้าเข็มของมัลติมิเตอร์ไม่กระดิก แสดงว่าฟิวส์ขาด
บทสรุป
สวิตซ์เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับปิด – เปิดวงจรไฟฟ้าหรือวาจรอิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์มีหลายรูปแบบการเลือกใช้สวิตซ์ต้องเลือกให้เหมาะสมกับงานหรือวงจร สิ่งสำคัญที่จะต้องคำนึงถึง คือ เลือกค่าทนกระแสและแรงดันไฟฟ้า
รีเลย์ เป็นอุปกรณ์ใช้ปิด – เปิดวงจรเช่นเดียวกับสวิตซ์ แต่รีเลย์จะทำการปิด – เปิดวงจรได้ ต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดของรีเลย์ ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็กดูดขั้วโลหะของรีเลย์ติดหรือขาดออกจากกัน เหมือนกับการปิด – เปิดวงจรด้วยสวิตซ์ การเลือกรีเลย์ใช้งานต้องคำนึงถึง
1. อัตราทนกำลังไฟของหน้าสัมผัสของรีเลย์
2. ความต้านทานของขดลวดรีเลย์เป็นตัวบอกถึงความต้องการกระแสไฟของรีเลย์ขณะทำงาน
3. แรงดันที่กระตุ้นให้รีเลย์ทำงาน
ฟิวส์ทำหน้าที่ตัดวงจรไฟฟ้า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเกินกำหนด ฟิวส์ที่ใช้ในงานอิเล็กทรอนิกส์มีหลายรูปแบบ
การเลือกฟิวส์ใช้งานต้องเลือก ดังนี้
1. ความสามารถในการทนกระแสและแรงดันไฟฟ้า
2. การทนกระแสลัดวงจรของฟิวส์
3. คุณสมบัติของฟิวส์ เช่น อุณหภูมิ รูปร่าง ขนาดยึดตัวฟิวส์ กระบอกฟิวส์
รีเลย์เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับปิด – เปิด วงจรเช่นเดียวกับสวิตซ์ แต่การทำงานของรีเลย์ทำงานด้วยการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปในขดลวดของรีเล ย์ ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็กดูด ขั้วโลหะของรีเลย์ติดหรือขาดออกจากกัน ทำให้วงจรต่อกันหรือขาดออกจากกันเหมือนการปิดเปิดวงจรด้วยสวิตซ์
ภาพที่ 10 แสดงรูปของรีเลย์
สัญลักษณ์ของรีเลย์ชนิดปกติ เปิดหน้าสัมผัส | ชนิดปกติ ปิดหน้าสัมผัส | รีเลย์พร้อม หน้าสัมผัส 1 ชุด | รีเลย์ 1 ชุด หน้าสัมผัส มีทั้งเปิดและปิด |
การนำรีเลย์ไปใช้งาน
รีเลย์นิยมนำไปใช้งานในวงจรป้องกันวงจรตัดต่อไฟเข้าไป ในวงจร และช่องทางการสนทนาในตู้โทรศัพท์ใช้เป็นอิเล็กทรอนิกส์สวิตซ์ การเลือกใช้รีเลย์ต้องคำนึงถึงค่าที่สำคัญ 3 ประการ คือ
1. อัตราทนกำลังไฟของหน้าสัมผัส เป็นตัวบอกถึงขนาดของโหลดสูงสุดที่จะต่อให้กับรีเลย์ ตัวอย่างเช่น รีเลย์ตัวหนึ่งมีขนาดแรงดันไฟ 12 โวลต์ กระแส 3 แอมแปร์ นั่นคือ โหลดที่นำมาต่อต้องใช้กระแสไฟไม่เกิน 3 แอมแปร์ ถ้าแรงดันที่จ่ายให้แก่โหลด 220 โวลต์ โหลดที่นำมาต่อต้องมีขนาดไม่เกิน 600 วัตต์
2. ความต้านทานของขดลวดรีเลย์ เป็นตัวบอกถึงความต้องการกระแสของรีเลย์ขณะทำงาน
3. แรงดันที่กระตุ้นให้รีเลย์ทำงาน เป็นค่าแรงดันสูงสุดที่ต้องป้อนให้กับขดลวดของรีเลย์
ตัวอย่างเช่น รีเลย์ 12 โวลต์ 3 แอมแปร์ ต้องต่อแรงดันไฟให้รีเลย์ 12 โวลต์ และไม่ต่ำกว่า 10 โวลต์ ถ้าป้อนแรงดันให้กับรีเลย์น้อยจะทำให้ขดลวดของรีเลย์ร้อน อาจทำให้อายุการใช้งานของรีเลย์สั้นลง ทางที่ดีควรป้องกันแรงดันให้ตรงตามที่กำหนดได้
3. ฟิวส์ (Fuse)
ฟิวส์เป็นตัวนำไฟฟ้าชนิดหนึ่ง ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ฟิวส์มีหน้าที่ตัดวงจรไฟฟ้า เมื่อมีกระแสไฟไหลเกินกำหนดเพื่อไม่ให้อุปกรณ์ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์เสียหาย ฟิวส์ที่ใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ มีรูปแบบและตัวถังหลายแบบฟิวส์นอกจากแบ่งตามตัวถังแล้วยังแบ่งตามคุณลักษณะ การใช้งานเป็น 2 ชนิด คือ
2.1 ฟิวส์ถ่วงเวลา ใช้ป้องกันกระแสไฟไหลอย่างรุนแรงขณะต่อสวิตซ์ ฟิวส์แบบนี้มีความไวต่อความร้อนมาก สามารถถ่วงเวลาได้ประมาณ 18 วินาที จากการปล่อยกระแสเริ่มแรกถึงกระแสไหลสูงสุด
2.2 ฟิวส์ทำงานอย่างรวดเร็ว ใช้ในวงจรที่มีกระแสไฟไหลปกติ ถ้ามีกระแสไฟไหลเกินค่าความสามารถในการทนกระแสไฟของฟิวส์ ฟิวส์ก็จะขาดหรือละลายทันภายในเวลา 1.4 วินาที
ภาพที่ 11 แสดงรูปฟิวส์และกระบอกฟิวส์
สัญลักษณ์ของฟิวส์
การเลือกฟิวส์ใช้งาน
การเลือกฟิวส์ใช้งานเป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องคำนึงถึง โดยเลือกฟิวส์ใช้งานดังนี้
1. ความสามารถในการทนกระแสและแรงดันไฟฟ้าต้องใช้ฟิวส์ที่มีความสามารถทนกระแส และแรงดันไฟฟ้าพอดีกับวงจรไฟฟ้ากำหนด ถ้าหาค่าทนกระแสและแรงดันไฟฟ้าไม่ได้ อาจใช้ค่าที่เกินกว่าปกติเล็กน้อย เช่น มีค่าแรงดันไฟฟ้าในวงจร 125 โวลต์
ให้ใช้ฟิวส์ได้ไม่เกิน 150 โวลต์ สำหรับค่าทนกระแสไฟให้ใช้ได้สูงกว่ากระแสในวงจร 25 เปอร์เซ็นต์
2. การทนกระแสไฟลัดวงจรของฟิวส์ ตามปกติค่าทนกระแสไฟลัดวงจรของฟิวส์จะกำหนดเป็นพันเท่าของกระแสไฟปกติ บางครั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ลัดวงจร จึงควรเลือกความสามารถในการทนกระแสลัดวงจรของฟิวส์ด้วย
3. คุณสมบัติของฟิวส์ เช่น อุณหภูมิ รูปร่าง ขนาดที่ยึดตัวฟิวส์ กระบอกฟิวส์ ต้องเลือกให้เหมาะสม
การทดสอบฟิวส์
ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ใช้ป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับวงจร ในกรณีที่มีการลัดวงจรเกิดขึ้นหรือมีกระแสไฟฟ้าไหลมาก เกินความสามารถของฟิวส์
การทดสอบฟิวส์เพื่อต้องการรู้ว่าขดลวดตัวนำที่อยู่ภายในโครงสร้างของฟิวส์ ขาดหรือไม่ ทดสอบได้ด้วยมัลติมิเตอร์ ดังนี้
1. เตรียมมัลติมิเตอร์ในตำแหน่งวัดค่าความต้านทาน R X 1
2. สายสีดำเสียบขั้วเสียบ – COM สายสีแดงเสียบขั้วเสียบ +
3. นำสายทั้งสองของมัลติมิเตอร์วัดคร่อมขั้วทั้งสองของฟิวส์
ภาพที่ 12 แสดงการทดสอบฟิวส์
4. สังเกตเข็มของมัลติมิเตอร์ ดังนี้
4.1 ถ้าเข็มของมัลติมิเตอร์กระดิกขึ้น แสดงว่าฟิวส์ดี
4.2 ถ้าเข็มของมัลติมิเตอร์ไม่กระดิก แสดงว่าฟิวส์ขาด
บทสรุป
สวิตซ์เป็นอุปกรณ์ใช้สำหรับปิด – เปิดวงจรไฟฟ้าหรือวาจรอิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์มีหลายรูปแบบการเลือกใช้สวิตซ์ต้องเลือกให้เหมาะสมกับงานหรือวงจร สิ่งสำคัญที่จะต้องคำนึงถึง คือ เลือกค่าทนกระแสและแรงดันไฟฟ้า
รีเลย์ เป็นอุปกรณ์ใช้ปิด – เปิดวงจรเช่นเดียวกับสวิตซ์ แต่รีเลย์จะทำการปิด – เปิดวงจรได้ ต้องให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขดลวดของรีเลย์ ทำให้เกิดอำนาจแม่เหล็กดูดขั้วโลหะของรีเลย์ติดหรือขาดออกจากกัน เหมือนกับการปิด – เปิดวงจรด้วยสวิตซ์ การเลือกรีเลย์ใช้งานต้องคำนึงถึง
1. อัตราทนกำลังไฟของหน้าสัมผัสของรีเลย์
2. ความต้านทานของขดลวดรีเลย์เป็นตัวบอกถึงความต้องการกระแสไฟของรีเลย์ขณะทำงาน
3. แรงดันที่กระตุ้นให้รีเลย์ทำงาน
ฟิวส์ทำหน้าที่ตัดวงจรไฟฟ้า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเกินกำหนด ฟิวส์ที่ใช้ในงานอิเล็กทรอนิกส์มีหลายรูปแบบ
การเลือกฟิวส์ใช้งานต้องเลือก ดังนี้
1. ความสามารถในการทนกระแสและแรงดันไฟฟ้า
2. การทนกระแสลัดวงจรของฟิวส์
3. คุณสมบัติของฟิวส์ เช่น อุณหภูมิ รูปร่าง ขนาดยึดตัวฟิวส์ กระบอกฟิวส์
สวิตซ์ (Switch)
สวิตซ์ (Switch)
สวิตซ์เป็นอุปกรณ์ใช้ปิด – เปิด วงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์จะทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าภายในวงจร สวิตซ์มีหลายรูปแบบ การเลือกใช้สวิตซ์ต้องเลือกค่าทนกระแสและแรงดันไฟให้เหมาะสมกับงานหรือวงจร ในงานอิเล็กทรอนิกส์มีหลายรูปแบบ พอสรุปได้ดังนี้
1.1 สวิตซ์โยก (Toggle Switch) สวิตซ์โยก คือ สวิตซ์ที่ใช้ปิดเปิดวงจรด้วยการโยกขึ้น-ลง มีตั้งแต่ 2 ขา ถึง 6 ขา แบ่งตามลักษณะและโครงสร้างได้ดังนี้
1.1.1 สวิตซ์ทางเดียว ขั้วเดียว (Single Pole Single Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกย่อว่า SPST ปกติมี 2 ขา ใช้ทำหน้าที่ปิดเปิดวงจร
1.1.2 สวิตซ์ทางเดียว 2 ขั้ว (Double Pole Single Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกย่อว่า DPST มีขาใช้งาน 4 ขา ใช้ทำหน้าที่เปิด – ปิด วงจรได้ 2 ชุดพร้อมกัน
1.1.3 สวิตซ์ 2 ทาง ขั้วเดียว (Single Pole Double Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกย่อว่า SPDT มีขาใช้งาน 2 ขา ใช้ทำหน้าที่เปิด – ปิดวงจร การใช้ขา 2 ขาหรือจะใช้เป็นสวิตซ์เลือก 2 ทาง
ก็ได้
1.1.4 สวิตซ์ 2 ทาง 2 ขั้ว (Double Pole Double Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกว่า DPDT มีขาใช้งาน 6 ขา ใช้ทำหน้าที่ปิด – เปิดวงจร 2 ชุดพร้อมกัน โดยใช้ขา 4 ขา และสามารถใช้แทนสวิตซ์แบบทางเดียว 2 ขั้วได้ด้วย
ภาพที่ 1 แสดงรูปสวิตซ์โยกแบบต่าง ๆ
1.2 สวิตซ์กระดก (Rocker Switch) สวิตซ์แบบกระดกหรือเรียกว่า ล็อกเกอร์สวิตซ์ เป็นสวิตซ์ขนาดใหญ่ใช้เปิด – ปิด วงจร บางแบบมีหลอดไฟในตัวบางแบบไม่มีหลอดไฟ
ภาพที่ 2 แสดงรูปสวิตซ์แบบกระดก
1.3 สวิตซ์หมุน (Rotary Switch) เป็นสวิตซ์เลือกหลายทาง นิยมเรียกว่า สวิตซ์เลือก (Selector Switch) มากกว่าสวิตซ์หมุน แบบที่มีใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ คือ
1.3.1 แบบ 12 ทาง 1 ชุด แบบนี้หมุนได้ 11 จังหวะ มีขาต่อใช้งาน 13 ขา ขากลางจะเป็นขาร่วม
1.3.2 แบบ 6 ทาง 2 ชุด แบบนี้หมุนได้ 5 จังหวะ มีขาร่วม 2 ขาแยก ออกจากกันแต่เลือกได้พร้อมกัน
1.3.3 แบบ 4 ทาง 3 ชุด แบบนี้หมุนได้ 3 จังหวะ มีขาร่วม 3 ขาแยก ออกจากกันมีลักษณะเหมือนมีสวิตซ์ 4 ทาง 3 ตัวบนแกนเดียวกัน
1.3.4 แบบ 3 ทาง 4 ชุด แบบนี้หมุนได้ 2 จังหวะ มีขาร่วม 4 ขาแยก ออกจากกัน มีลักษณะเหมือนมีสวิตซ์ 3 ทาง 4 ตัวบนแกนเดียวกัน
1.5.2 แบบกดดับปล่อยติด จะมีลักษณะการใช้งานตรงกันข้ามกับแบบกดติดปล่อยดับ นั่นคือ ถ้ากดปุ่มหรือแกนจะต่อวงจร ถ้าปล่อยจะตัดวงจร
1.5.3 แบบกดติดกดดับ สวิตซ์แบบนี้จะล็อกหน้าสัมผัสได้ ครั้งแรกถ้าสวิตซ์ไม่ต่อวงจร ถ้ากดปุ่มสวิตซ์จะต่อวงจร เมื่อปล่อยสวิตซ์ยังคงต่ออยู่ ต้องกดสวิตซ์ซ้ำอีกจึงจะทำให้วงจรเปิด สวิตซ์แบบนี้นิยมใช้เป็นสวิตซ์เปิดปิดแรงดันไม่ให้เข้าไปเลี้ยงวงจร
1.5.4 แบบกดหลายทาง เป็นสวิตซ์แบบกดติดปล่อยดับหลายตัว ต่อร่วมอยู่บนแกนเดียวกัน โดยมีกลไก ล็อกสวิตซ์แต่ละตัวเข้าด้วยกัน เพื่อนำมาใช้เป็นสวิตซ์เลือกหลายทางเมื่อกดสวิตซ์ตัวหนึ่ง ตัวที่เหลือจะหลุดออกมา สวิตซ์แบบนี้นิยมใช้เป็นสวิตซ์เลือกสัญญาณ ทางเข้าออกเครื่องขยายเสียง ทำเป็นสวิตซ์เลือกย่านวัดในเครื่องมือทดสอบ
1.5.5 แบบสวิตซ์เท้า เป็นสวิตซ์กดแบบหนึ่ง ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับแรงกดมาก ๆ เช่น ใช้เท้าเหยียบ นิยมนำไปใช้เครื่องทำเสียงแตก เครื่องสร้างเสียงเอฟเฟลกของกีตาร์ไฟฟ้ามีแบบกดล็อก และแบบกดติดปล่อยดับ
ภาพที่ 5 แสดงรูปสวิตซ์กดแบบต่าง ๆ
1.6 คีย์แพด (Keypad) คีย์แพดเป็นสวิตซ์ที่ต่ออยู่ในรูปเมตริกซ์ ตัวคีย์แพดจะประกอบด้วยหน้าสัมผัส แผ่นลาเบล ปิดชื่อคีย์ และสายต่อ นิยมใช้ในเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องคิดเลข หรือเครื่องควบคุมอัตโนมัติ
ภาพที่ 7 แสดงรูปไมโครสวิตซ์ 1.8 ดีพสวิตซ์ (Dip Switch) ดีพสวิตซ์เป็นสวิตซ์แบบทางเดียวขั้วเดียว มีหลายตัวอยู่บนตัวเดียวกัน มีขนาดเท่ากับไอซีตัวถัง Dip มีให้เลือกตั้งแต่ 2 จุดถึง 12 จุด
ภาพที่ 8 รูปแสดงรูปดีพสวิตซ์
สัญลักษณ์ของสวิตซ์
การทดสอบสวิตซ์
สวิตซ์เป็นอุปกรณ์เปิด – ปิดวงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสไฟในวงจร สวิตซ์มีหลายรูปแบบตามลักษณะการใช้งาน
การทดสอบสวิตซ์สามารถทดสอบได้ 2 วิธี ทดสอบขณะสวิตซ์ไม่ถูกใช้งานหรือถอดสวิตซ์ออกจากวงจรมาทดสอบ และทดสอบขณะสวิตซ์ทำงาน ในที่นี้จะกล่าวถึงการทดสอบสวิตซ์ไม่ถูกใช้งานด้วยมัลติมิเตอร์ดังนี้
1. เตรียมมัลติมิเตอร์ในตำแหน่ง x10
2. สายสีดำเสียบขั้วเสียบ – COM สายสีแดงเสียบขั้วเสียบ +
3. นำสายทั้งสองของมัลติมิเตอร์ ต่อคร่อมหรือขนานกับขั้วต่อของสวิตซ์
4.1 ถ้าเข็มของมิเตอร์กระดิกขึ้น – ลง ตามจังหวะการเปิด – ปิดของสวิตซ์ แสดงว่าสวิตซ์นำไปใช้เปิด – ปิดวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้
4.2 ถ้าเข็มของมิเตอร์ไม่กระดิกตามจังหวะการเปิด – ปิด แสดงว่าสวิตซ์เสียในลักษณะขาด
4.3 ถ้าเข็มของมิเตอร์กระดิกขึ้นตลอดเวลาที่ปิดหรือเปิด แสดงว่าสวิตซ์เสียในลักษณะลัดวงจร
สวิตซ์เป็นอุปกรณ์ใช้ปิด – เปิด วงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์จะทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าภายในวงจร สวิตซ์มีหลายรูปแบบ การเลือกใช้สวิตซ์ต้องเลือกค่าทนกระแสและแรงดันไฟให้เหมาะสมกับงานหรือวงจร ในงานอิเล็กทรอนิกส์มีหลายรูปแบบ พอสรุปได้ดังนี้
1.1 สวิตซ์โยก (Toggle Switch) สวิตซ์โยก คือ สวิตซ์ที่ใช้ปิดเปิดวงจรด้วยการโยกขึ้น-ลง มีตั้งแต่ 2 ขา ถึง 6 ขา แบ่งตามลักษณะและโครงสร้างได้ดังนี้
1.1.1 สวิตซ์ทางเดียว ขั้วเดียว (Single Pole Single Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกย่อว่า SPST ปกติมี 2 ขา ใช้ทำหน้าที่ปิดเปิดวงจร
1.1.2 สวิตซ์ทางเดียว 2 ขั้ว (Double Pole Single Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกย่อว่า DPST มีขาใช้งาน 4 ขา ใช้ทำหน้าที่เปิด – ปิด วงจรได้ 2 ชุดพร้อมกัน
1.1.3 สวิตซ์ 2 ทาง ขั้วเดียว (Single Pole Double Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกย่อว่า SPDT มีขาใช้งาน 2 ขา ใช้ทำหน้าที่เปิด – ปิดวงจร การใช้ขา 2 ขาหรือจะใช้เป็นสวิตซ์เลือก 2 ทาง
ก็ได้
1.1.4 สวิตซ์ 2 ทาง 2 ขั้ว (Double Pole Double Throw) สวิตซ์แบบนี้เรียกว่า DPDT มีขาใช้งาน 6 ขา ใช้ทำหน้าที่ปิด – เปิดวงจร 2 ชุดพร้อมกัน โดยใช้ขา 4 ขา และสามารถใช้แทนสวิตซ์แบบทางเดียว 2 ขั้วได้ด้วย
ภาพที่ 1 แสดงรูปสวิตซ์โยกแบบต่าง ๆ
1.2 สวิตซ์กระดก (Rocker Switch) สวิตซ์แบบกระดกหรือเรียกว่า ล็อกเกอร์สวิตซ์ เป็นสวิตซ์ขนาดใหญ่ใช้เปิด – ปิด วงจร บางแบบมีหลอดไฟในตัวบางแบบไม่มีหลอดไฟ
ภาพที่ 2 แสดงรูปสวิตซ์แบบกระดก
1.3 สวิตซ์หมุน (Rotary Switch) เป็นสวิตซ์เลือกหลายทาง นิยมเรียกว่า สวิตซ์เลือก (Selector Switch) มากกว่าสวิตซ์หมุน แบบที่มีใช้ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ คือ
1.3.1 แบบ 12 ทาง 1 ชุด แบบนี้หมุนได้ 11 จังหวะ มีขาต่อใช้งาน 13 ขา ขากลางจะเป็นขาร่วม
1.3.2 แบบ 6 ทาง 2 ชุด แบบนี้หมุนได้ 5 จังหวะ มีขาร่วม 2 ขาแยก ออกจากกันแต่เลือกได้พร้อมกัน
1.3.3 แบบ 4 ทาง 3 ชุด แบบนี้หมุนได้ 3 จังหวะ มีขาร่วม 3 ขาแยก ออกจากกันมีลักษณะเหมือนมีสวิตซ์ 4 ทาง 3 ตัวบนแกนเดียวกัน
1.3.4 แบบ 3 ทาง 4 ชุด แบบนี้หมุนได้ 2 จังหวะ มีขาร่วม 4 ขาแยก ออกจากกัน มีลักษณะเหมือนมีสวิตซ์ 3 ทาง 4 ตัวบนแกนเดียวกัน
ภาพที่ 3 แสดงที่ 3 แสดงรูปสวิตซ์หมุน หรือ สวิตซ์เลือก
ภาพสวิตซ์เลื่อย (Side Switch ) สวิตซ์จะมีลักษณ์เหมือนสวิตซ์โยก แต่ไม่มีแกนเหมือนสวิตซ์โยก ใช้ทำหน้าที่ปิด-เปิด วงจรเหมือนสวิตซ์โยก
ภาพที่ 4 แสดงรูปสวิตซ์เลื่อน
- สวิตซ์กด (PUSH SWITCH) สวิตซ์กดเวลาใช้งานจะต้องกดปุ่มหรือแกนที่ยื่นออกมาจากตัวสวิตซ์ ลักษณะการกดมีหลายลักษณะคือ
1.5.2 แบบกดดับปล่อยติด จะมีลักษณะการใช้งานตรงกันข้ามกับแบบกดติดปล่อยดับ นั่นคือ ถ้ากดปุ่มหรือแกนจะต่อวงจร ถ้าปล่อยจะตัดวงจร
1.5.3 แบบกดติดกดดับ สวิตซ์แบบนี้จะล็อกหน้าสัมผัสได้ ครั้งแรกถ้าสวิตซ์ไม่ต่อวงจร ถ้ากดปุ่มสวิตซ์จะต่อวงจร เมื่อปล่อยสวิตซ์ยังคงต่ออยู่ ต้องกดสวิตซ์ซ้ำอีกจึงจะทำให้วงจรเปิด สวิตซ์แบบนี้นิยมใช้เป็นสวิตซ์เปิดปิดแรงดันไม่ให้เข้าไปเลี้ยงวงจร
1.5.4 แบบกดหลายทาง เป็นสวิตซ์แบบกดติดปล่อยดับหลายตัว ต่อร่วมอยู่บนแกนเดียวกัน โดยมีกลไก ล็อกสวิตซ์แต่ละตัวเข้าด้วยกัน เพื่อนำมาใช้เป็นสวิตซ์เลือกหลายทางเมื่อกดสวิตซ์ตัวหนึ่ง ตัวที่เหลือจะหลุดออกมา สวิตซ์แบบนี้นิยมใช้เป็นสวิตซ์เลือกสัญญาณ ทางเข้าออกเครื่องขยายเสียง ทำเป็นสวิตซ์เลือกย่านวัดในเครื่องมือทดสอบ
1.5.5 แบบสวิตซ์เท้า เป็นสวิตซ์กดแบบหนึ่ง ที่สร้างขึ้นเพื่อรองรับแรงกดมาก ๆ เช่น ใช้เท้าเหยียบ นิยมนำไปใช้เครื่องทำเสียงแตก เครื่องสร้างเสียงเอฟเฟลกของกีตาร์ไฟฟ้ามีแบบกดล็อก และแบบกดติดปล่อยดับ
ภาพที่ 5 แสดงรูปสวิตซ์กดแบบต่าง ๆ
1.6 คีย์แพด (Keypad) คีย์แพดเป็นสวิตซ์ที่ต่ออยู่ในรูปเมตริกซ์ ตัวคีย์แพดจะประกอบด้วยหน้าสัมผัส แผ่นลาเบล ปิดชื่อคีย์ และสายต่อ นิยมใช้ในเครื่องถ่ายเอกสาร เครื่องคิดเลข หรือเครื่องควบคุมอัตโนมัติ
แบบ 12 คีย์ แบบ 11 คีย์ แบบ 6 คีย์ แบบ 1 คีย์
ภาพที่ 6 แสดงรูปคีย์แพด
1.7 ไมโครสวิตซ์ (Micro Switch) ไมโครสวิตซ์เป็นสวิตซ์ที่มีความไวต่อการกดโดยมีแกนยื่นสำหรับให้กด เมื่อกดแกนแล้วแกนนี้จะไปกดหน้าสัมผัสของสวิตซ์อีกที่หนึ่งนิยมใช้ในเครื่อง เล่นเทป เครื่องมือระบบอัตโนมัติ และใช้ในระบบรักษาความปลอดภัย เครื่องกันขโมยภาพที่ 7 แสดงรูปไมโครสวิตซ์
ภาพที่ 8 รูปแสดงรูปดีพสวิตซ์
สัญลักษณ์ของสวิตซ์
การเลือกสวิตซ์ใช้งาน
สวิตซ์แต่ละแบบถูกออกแบบและสร้างเพื่อให้เหมาะสมกับ งานที่จะใช้ นอกจากการออกแบบแล้ว ผู้ผลิตยังบอกคุณลักษณะการทนกระแสไฟฟ้าและแรงดันไฟฟ้าไว้ด้วย ดังนั้นการเลือกใช้สวิตซ์ต้องเลือกค่าทนกระแสและแรงดันไฟที่เหมาะสมกับงาน หรือวงจรการทดสอบสวิตซ์
สวิตซ์เป็นอุปกรณ์เปิด – ปิดวงจรไฟฟ้าและวงจรอิเล็กทรอนิกส์ สวิตซ์ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสไฟในวงจร สวิตซ์มีหลายรูปแบบตามลักษณะการใช้งาน
การทดสอบสวิตซ์สามารถทดสอบได้ 2 วิธี ทดสอบขณะสวิตซ์ไม่ถูกใช้งานหรือถอดสวิตซ์ออกจากวงจรมาทดสอบ และทดสอบขณะสวิตซ์ทำงาน ในที่นี้จะกล่าวถึงการทดสอบสวิตซ์ไม่ถูกใช้งานด้วยมัลติมิเตอร์ดังนี้
1. เตรียมมัลติมิเตอร์ในตำแหน่ง x10
2. สายสีดำเสียบขั้วเสียบ – COM สายสีแดงเสียบขั้วเสียบ +
3. นำสายทั้งสองของมัลติมิเตอร์ ต่อคร่อมหรือขนานกับขั้วต่อของสวิตซ์
ภาพที่ 9 แสดงการทดสอบสวิตซ์
4. ทดลองเปิด – ปิดสวิตซ์ตามแบบของสวิตซ์ สังเกตเข็มของมัลติมิเตอร์ ดังนี้4.1 ถ้าเข็มของมิเตอร์กระดิกขึ้น – ลง ตามจังหวะการเปิด – ปิดของสวิตซ์ แสดงว่าสวิตซ์นำไปใช้เปิด – ปิดวงจรไฟฟ้าหรือวงจรอิเล็กทรอนิกส์ได้
4.2 ถ้าเข็มของมิเตอร์ไม่กระดิกตามจังหวะการเปิด – ปิด แสดงว่าสวิตซ์เสียในลักษณะขาด
4.3 ถ้าเข็มของมิเตอร์กระดิกขึ้นตลอดเวลาที่ปิดหรือเปิด แสดงว่าสวิตซ์เสียในลักษณะลัดวงจร
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)